|
ประติมากรรมรูปสิงห์หรืออัจจมุขี
ประติมากรรมรูปสิงห์หรืออัจจมุขี พบที่วัดพระธาตุพนม ตามตำนานอุรังคธาตุกล่าวว่า ได้สร้างรูปอัจจมุขีขึ้นไว้สองตัว อยู่ที่มุมทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือหนึ่งตัว |
|
|
สถานที่สำคัญภายในวัด
องค์พระธาตุพนม อันเป็นเจดีย์ที่บรรจุพระอุรังคธาตุ ( กระดูกส่วนหัวอก ) ของพระพุทธเจ้า เป็นพระธาตุเจดีย์คู่บ้านคู่เมือง |
|
|
จารึกวัดพระธาตุพนม
พระยานครพิชิตธานี พร้อมด้วยท้าวพระยาในท้องถิ่นได้บูรณะพระธาตุพนม และสร้างกำแพงแก้วล้อมรอบพระธาตุ รวมทั้งสร้างถาวรวัตถุอื่นๆ อีกด้วย ตอนท้ายได้สาปแช่งผู้ถือสิทธิ์ครอบครอง ทำลายทานวัตถุ |
|
|
ลูกพระธาตุพนม
ความเชื่อความศรัทธาของสามัญชนที่มีต่อองค์พระธาตุพนม ประการหนึ่งคือ การขอบุตรจากองค์พระธาตุพนม ผู้ที่ไม่มีบุตรมาก่อนและต้องการมีบุตรสืบตระกูล |
|
|
พระธาตุพนมบรมเจดีย์ ศรีบรมธาตุแห่งอีสานทิศ (1)
อันพระเจดีย์ใหญ่-น้อยซึ่งเป็นที่เคารพสักการะของเหล่าเทพดาและมนุษย์ทั้งหลายในสยามนั้นมีจำนวนมากมายหลายแห่งนัก ทั้งที่มาแห่งการสถาปนาก็แปลกต่างกัน ซึ่งโดยมากแล้วย่อมเกี่ยวโยงไปถึงพระมหากษัตริย์และสิ่งลึกลับที่ทรงอำนาจเหนือสามัญชน |
|
|
พิธีถวายข้าวพีชภาคและการเสียค่าหัว
มีเรื่องราวในตำนานอุรังคนิทานหลายเรื่องหลายตอนที่น่าศึกษา ซึ่งเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับการสร้างองค์พระธาตุ และผู้เกี่ยวข้องกับองค์พระธาตุเป็นส่วนใหญ่ หากย้อนรอยอดีต ๒,๐๐๐ กว่าปี |
|
|
เจ้าเฮือน ๓ พระองค์
ในอุรังคนิทานซึ่งเป็นตำนานของพระอุรังคธาตุนั้น ในกัณฑ์ที่ ๔ ได้กล่าวถึง “ เทพเจ้าสโมสร” พระอินทร์นำบริวารลงมาบูชาพระธาตุพนม กล่าวคือ เมื่อพญาทั้ง ๕ |
|
|
อภินิหารแห่งองค์พระธาตุพนม
พระธาตุพนม ได้แสดงอภินิหารให้ปรากฏมาแล้วมากมายนับไม่ถ้วน ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลือเชื่อ อยู่เหนือเหตุผลและคำอธิบาย เฉพาะที่พระธรรมราชานุวัตร และ ดร. พระมหาสม สุมโน |
|